ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย มี อะไร บ้าง

โปงลาง-สะ-ออ-น-วง-แตก

09 Sep จ่ายเงินเดือนกรรมการ ต้องทำอะไรบ้าง กำหนดเงินเดือน/ค่าตอบแทน พิจารณาการขึ้นประกันสังคม ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่ ทำหลักฐานประกอบการจ่ายเงิน 1. กำหนดเงินเดือนและค่าตอบแทน มีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2 อันที่ต้องระวัง ตามมาตรา 65 ตรี (8) (8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้น ส่วนเฉพาะส่วนที่จ่ายเกินสมควรเป็นรายจ่ายต้องห้าม สรุปคือ การกำหนดเงินเดือนกรรมการจะต้องสมเหตุสมผล ไม่ใช่กำหนดสูงจนเกินจริง เจ้าพนักงานมีสิทธิ์ที่จะประเมินเงินเดือนกรรมการที่เกินสมควร ไม่ให้ถือเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษี ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1150 ผู้เป็นกรรมการจะพึงมีจำนวนมากน้อยเท่าใด และจะพึงได้บำเหน็จเท่าใด ให้สุดแล้วแต่ที่ประชุมใหญ่จะกำหนด 2. พิจารณาการขึ้นประกันสังคม กรรมการ -> ถือหุ้นบริษัทแบบมีสาระสำคัญ = เจ้าของไม่ต้องขึ้นประกันสังคม กรรมการ -> ไม่ได้ถือหุ้นบริษัท = ลูกจ้างต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม 3. ต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่ กรรมการ (ไม่มีค่าลดหย่อนอะไรเลย) มีเงินได้ประเภทเงินเดือนมากกว่า 310, 000 บาท ต่อปี หรือประมาณ 25, 833 บาท/เดือน จะเริ่มเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรม ดังนั้น ถ้าเราให้เงินเดือนกรรมการมากกว่า 25, 833 บาท/เดือน จะต้องหัก ณ ที่จ่ายและนำส่งกรมสรรพากรด้วย แบบ ภ.

บทลงโทษ - iTAX pedia

Untitled Document เลขที่หนังสือ: กค 0702/2893 วันที่: 20 เมษายน 2552 เรื่อง: ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะกรณีสถานะและการประกอบกิจการ ของสหกรณ์ ข้อกฎหมาย: มาตรา 39 มาตรา 40(1) และมาตรา 50(1) แห่งประมวลรัษฎากร ข้อหารือ 1. สหกรณ์มีหน้าที่ต้องยื่นแบบเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามแบบ ภ. ง. ด. 50 หรือไม่ และเงินได้พึงประเมินของ สหกรณ์จะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือไม่ 2. สหกรณ์มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินเดือน และค่าซ่อมแซมอาคาร ของสหกรณ์ หรือไม่ อย่างไร 3. การขายเมล็ดทานตะวันแก่นิติบุคคลอื่น โดยขายไปทั้งเมล็ดตามที่เกษตรกรในกลุ่มได้นำมาจำหน่าย หรือ การนำ เมล็ดทานตะวันดังกล่าวมาปรุงแต่ง บรรจุหีบห่อที่มีตราหรือชื่อของสหกรณ์ติดอยู่ กรณีเช่นนี้ สหกรณ์จะต้องจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม และต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือไม่ อย่างไร 4. การที่สหกรณ์ได้นำเงินค่าสมาชิก ค่าธรรมเนียม มาให้เกษตรกรซึ่งเป็นสมาชิกกู้ยืม การดำเนินงานในลักษณะดังกล่าว นี้ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือไม่ แนววินิจฉัย 1. หากสหกรณ์จัดตั้งเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.

เงินได้นั้นเป็นค่านายหน้า ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าลิขสิทธิ์ ผู้ที่ต้องเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายคือ บริษัทห้างหุ้นส่วนและมูลนิธิหรือสมาคมที่ไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งจะเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายในอัตราที่แตกต่างกันออกไป คือร้อยละ 3. 0 และ 10. 0 ตามลำดับ ดังนั้นใครที่เปิดบริษัทหรือกำลังคิดจะเปิดบริษัทเพื่อทำธุรกิจแล้วล่ะก็ เตรียมตัวเสียภาษีส่วนนี้กันได้เลย จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ที่คุณจะต้องเสียด้วย 2. เงินได้นั้นเป็นดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน พันธบัตรหุ้นกู้ ผู้ที่ต้องเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายคือ บริษัทห้างหุ้นส่วนไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์หรือบริษัทเงินทุนและมูลนิธิหรือสมาคมที่ไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งจะเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายในอัตราที่แตกต่างกันออกไป คือร้อยละ 1. 0 ตามลำดับ 3. เงินได้นั้นเป็นค่าเช่าอาคารหรือบ้าน ผู้ที่ต้องเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายคือ บริษัทห้างหุ้นส่วน มูลนิธิหรือสมาคมที่ไม่มีข้อยกเว้น และบุคคลธรรมดา ซึ่งจะเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายในอัตราที่แตกต่างกันออกไป คือร้อยละ 5. 0 10. 0 และ 5. 0 ตามลำดับ ดังนั้นผู้ที่เปิดกิจการให้เช่าบ้าน อพาร์ทเม้น หรือห้องเช่าต่างๆ จึงต้องเสียภาษีในส่วนนี้ด้วย 4.

  • วิธี ทํา ไข่ พะโล้ สาม ชั้น
  • ตัวอย่าง job description ฝ่าย บัญชี
  • หน้า ชา ครึ่ง ซีก ซ้าย ขวา
  • บทลงโทษ - iTAX pedia
  • PNK Accounting | จ่ายเงินเดือนกรรมการ ต้องทำอะไรบ้าง
  • รับ จัด ท ริ ป

ง. ด. 1 เงินเดือน 310, 000 หัก ค่าใช้จ่าย (50% ไม่เกิน 100, 000) 100, 000 เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 210, 000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60, 000 เงินได้เงินสุทธิสำหรับคำนวณภาษี 150, 000 (บุคคลธรรมดาเงินได้สุทธิ 0 – 150, 000 ได้รับยกเว้นภาษี) 4. ทำหลักฐานประกอบการจ่ายเงิน ทะเบียนเงินเดือน + ใบสำคัญจ่าย ที่มา: เพจ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ใส่ใจบัญชีและภาษี ภาพประกอบ: เพจ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ใส่ใจบัญชีและภาษี Post Views: 4, 991

HIGHLIGHTS ภาษีที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าบริการดังกล่าวจะมีแค่ 2 เรื่องดังนี้ 1️⃣ ภ. พ. 36 เราจะมีภาระที่จะยื่น ภ. 36 เมื่อกิจการจ่ายค่าบริการให้กับผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร และ 2️⃣ ภ. ง. ด. 54 เมื่อนิติบุคคลจ่ายค่าบริการ ซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(2) - 40(6) นิติบุคคลมีหน้าที่จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งด้วยแบบ ภ. 54 วันนี้ผมจะมาสรุปเกี่ยวกับประเด็นการจ่ายค่าบริการให้กับนิติบุคคลต่างประเทศ ว่าเรามีภาระที่จะต้องยื่นภาษีอะไรกันบ้างเมื่อจ่ายค่าบริการดังกล่าว โดยภาษีที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าบริการดังกล่าวจะมีแค่ 2 เรื่องดังนี้ 1️⃣ ภ. 36 เราจะมีภาระที่จะยื่น ภ. 36 เมื่อกิจการจ่ายค่าบริการให้กับผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร ดังนั้นเมื่อกิจการจ่ายค่าบริการให้กับ Facebook Google Line Zoom กิจการมีหน้าที่ต้องนำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มแทนผู้ให้บริการด้วยแบบ ภ. 36 ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้ให้แก่ผู้ประกอบการในต่างประเทศ หลังจากเราจ่ายชำระค่าภาษีและได้ใบเสร็จรับเงินค่าภาษี ภ.

PNK Accounting | จ่ายเงินเดือนกรรมการ ต้องทำอะไรบ้าง

สหกรณ์ประเภทต่างๆ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ ได้รับการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับการให้กู้ยืมเงินแก่สมาชิก หรือแก่สหกรณ์อื่น ตามมาตรา 91/3(3) แห่งประมวลรัษฎากร เลขตู้: 72/36544 ปรับปรุงล่าสุด: 22-05-2020

ศ. 2542 สหกรณ์ดังกล่าว ไม่เข้าลักษณะเป็นบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนั้น ผู้จ่ายเงินได้ พึงประเมินให้แก่สหกรณ์ดังกล่าว ไม่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่อย่างใด 2. สหกรณ์ตาม 1. เมื่อจ่ายเงินได้พึงประเมิน พิจารณาได้ดังนี้ 2. 1 กรณีสหกรณ์จ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานของสหกรณ์ ซึ่งถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากร สหกรณ์มีหน้าที่ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1) แห่งประมวลรัษฎากร 2. 2 กรณีสหกรณ์จ่ายเงินค่าซ่อมแซมอาคารของสหกรณ์ เข้าลักษณะเป็นการจ่ายเงินได้ค่าจ้างทำของตามมาตรา 587 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร สหกรณ์มีหน้าที่ต้องหัก ภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 3. 0 ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับข้อ 8 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. ป. 4/2528 เรื่อง สั่งให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ลงวันที่ 26 กันยายน พ. 2528 3. การประกอบกิจการขายเมล็ดทานตะวัน โดยขายไปทั้งเมล็ดตามที่ได้ซื้อมาจากเกษตรกรให้แก่นิติบุคคลอื่น ถือเป็น การขายพืชผลทางการเกษตร ที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 81(1)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร แต่การขายเมล็ดทาน ตะวันที่ได้แปรรูปหรือ แปรสภาพเป็นอาหาร หรือเป็นสินค้าอื่นแล้ว ไม่ว่าจะบรรจุกระป๋องภาชนะหรือหีบห่อที่ผนึกในลักษณะมั่นคง หรือไม่ ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 81(1)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร 4.

โดย ผศ. ดร. ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร ยื่นแบบภาษีทันกำหนด แต่เสียภาษีไม่ครบ เสียเบี้ยปรับ 0. 5 – 1 เท่า ของค่าภาษีที่ต้องจ่าย 1 เสียเงินเพิ่ม 1. 5% ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย เริ่มนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบจนถึงวันที่จ่ายครบ 2 ไม่ได้ยื่นแบบภาษีภายในกำหนด มีโทษปรับทางอาญาสูงสุด 2, 000 บาท 3 เสียเบี้ยปรับ 1 – 2 เท่า ของค่าภาษีที่ต้องจ่าย 4 เสียเงินเพิ่ม 1. 5% ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย เริ่มนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบจนถึงวันที่จ่ายครบ 5 เจตนาละเลยไม่ยื่นแบบภาษีภายในกำหนดเพื่อเลี่ยงภาษี มีโทษปรับทางอาญาสูงสุด 200, 000 บาท จำคุกสูงสุด 1 ปี 6 เสียเบี้ยปรับ ×2 ของค่าภาษีที่ต้องจ่าย 7 เสียเงินเพิ่ม 1. 5% ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย เริ่มนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบจนถึงวันที่จ่ายครบ 8 หนีภาษี มีโทษปรับทางอาญาตั้งแต่ 2, 000 – 200, 000 บาท จำคุกตั้งแต่ 3 เดือน – 7 ปี 9 เสียเบี้ยปรับ ×2 ของค่าภาษีที่ต้องจ่าย 10 เสียเงินเพิ่ม 1. 5% ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย เริ่มนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบจนถึงวันที่จ่ายครบ 11 อ้างอิง ^ มาตรา 22 ประมวลรัษฎากร, ข้อ 4 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.

36 แล้วเราก็สามารถนำมาใช้เป็นภาษีซื้อได้ 2️⃣ ภ. 54 เมื่อนิติบุคคลจ่ายค่าบริการ ซึ่งเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(2) – 40(6) นิติบุคคลมีหน้าที่จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งด้วยแบบ ภ. 54 📌 ถ้าเป็นเงินได้อื่นนอกเหลือจาก 40(2)-40(6) ก็ไม่ต้องไปหัก เราจ่ายค่าโฆษณาให้กับ Facebook Google Line เป็นเงินได้ 40(8) ดังนั้นไม่ต้องหัก เราจ่ายค่าลิขสิทธิ์การใช้ Software ให้กับ Zoom เป็นเงินได้ 40(3) ดังนั้นต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากร ถ้าผู้รับเงินอยู่ในประเทศที่ไม่มีอนุสัยญาภาษีซ้อนกับไทยก็หัก 15% ไปได้เลย แต่ถ้ามีอนุสัญญาภาษีซ้อนก็ต้องไปเปิดดูเพื่อลดอัตราการหักภาษีลด ผู้ให้บริการ Zoom อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกามีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับไทยซึ่งในอนุสัญญาภาษีซ้อนให้ลดอัตราการหักภาษี ณ ที่จ่ายลงเหลือ 5%