การ หาความ กว้าง อันตรภาค ชั้น

death-race-3-ซบ-ไทย

3 จะได้ความกว้างของอันตรภาคชั้นเป็น 10 35 – 44 // 45 – 54 //// 55 – 64 //// / // 65 – 74 //// / ///// 75 – 84 85 – 94 95 – 104 /// N = 40 4. ข้อมูลต่อไปนี้เป็นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนนของนักเรียนจำนวน 40 คนดังนี้ 84 79 65 78 78 62 80 67 82 73 81 68 60 74 67 75 48 80 71 62 76 76 65 63 68 51 48 53 71 75 74 77 68 73 61 66 75 79 52 62 จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้มี 8 อันตรภาคชั้น วิธีทำ คะแนนสูงสุดเท่ากับ 84 และ คะแนนต่ำสุดเท่ากับ 48 ดังนั้น พิสัย = 84 – 48 = 36 ความกว้างของอันตรภาคชั้น เท่ากับ = 4.

การสร้างตารางแจกแจงความถี่ - GotoKnow

ผลการสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งเป็นดังนี้ 68 84 75 82 68 91 61 89 75 93 73 79 87 77 60 92 70 58 82 75 61 65 74 86 72 62 90 78 63 72 96 78 89 61 75 95 60 79 85 71 65 80 73 57 88 63 62 76 54 74 การสร้างตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลดังกล่าวควรใช้อันตรภาคชั้นที่เป็นช่วงคะแนน ซึ่งมีลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ หาค่าสูงสุด คือ 96 และค่าต่ำสุด คือ 54 พิสัย = ค่าสูงสุด – ค่าต่ำสุด = 96 – 54 = 42 กำหนดความกว้างของอันตรภาคชั้น = 10 จำนวนอันตรภาคชั้น = = 4. 2 จะได้จำนวนอันตรภาคชั้นเป็น 5 ชั้น เรียงลำดับอันตรภาคชั้นจากคะแนนน้อยไปมาก นำข้อมูลดิบมาใส่ตาราง โดยขีดรอยขีดของคะแนนในอันตรภาคชั้นที่มีความกว้าง ครอบคลุม ข้อมูลนั้นอยู่ รวบรวมความถี่ของรอยคะแนน เพื่อนำไปแปลความหมายของข้อมูลต่อไป คะแนน 51 – 60 61 – 70 71 – 80 81 – 90 91 – 100 ///// ///// ///// // ///// ///// ///// /// ///// ///// 12 10 3. จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียน ม. 3/9 จำนวน 40 คน เป็นดังนี้ 35 100 56 49 64 85 64 65 51 84 95 84 66 72 83 89 64 66 73 87 65 87 56 78 77 69 69 56 47 95 47 79 76 55 83 68 75 76 41 72 จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้มีจำนวนชั้นเป็น 7 วิธีทำ คะแนนสูงสุดเท่ากับ 100 และ คะแนนต่ำสุดเท่ากับ 35 ดังนั้น พิสัย = 100 – 35 = 65 ความกว้างของอันตรภาคชั้น เท่ากับ 9.

ฐานนิยม คือ ค่าที่มีความถี่สูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับค่าอื่นในข้อมูลชุดเดียวกัน แต่ในบางชุดของข้อมูลอาจจะไม่มีค่านิยมก็ได้ โดยทั่วไปฐานนิยมมักใช้กับข้อมูลเชิงคุณภาพ 1. การหาฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ พิจารณาจากค่าของข้อมูลที่ปรากฏซ้ำกันมากที่สุด (มีความถี่สูงสุด) แต่บางชุดข้อมูลจะไม่มีฐานนิยม นั่นก็คือ 1. ข้อมูลที่มีความถี่เท่ากันทุกค่า เช่น 1 2 3 3 2 1 2 1 3 2. มีข้อมูลเพียงค่าเดียวไม่มีค่าอื่นมาเปรียบเทียบ เช่น 2 2 2 2 2 2 3. มีความถี่สูงสุดมากกว่า 1 ค่า เช่น 2 5 5 2 5 2 3 3 3 2. การหาฐานนิยมของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ -2. 1 ถ้าความกว้างเท่ากันทุกอันตรภาคชั้น ค่าฐานนิยมโดยประมาณ คือ จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุด ตัวอย่าง จงหาฐานนิยมของน้ำหนัก ดังตารางต่อไปนี้ น้ำหนัก(กิโลกรัม) จำนวน (คน) 31-40 8 41-50 10 51-60 7 61-70 5 วิธีทำ อันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุด คือ 41-50 ดังนั้น ฐานนิยมของน้ำหนักโดยประมาณ คือ (41+50)/2 = 45. 5 กิโลกรัม -2. 2 ถ้าความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นไม่เท่ากัน ค่าฐานนิยมโดยประมาณ หาได้จากการหารความถี่ด้วยความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น ฐานนิยมคือจุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นที่มีผลหารสูงสุด วิธีทำ ฐานนิยม คือ จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้น 39-44 ดังนั้น ฐานนิยมของน้ำหนักโดยประมาณ คือ (39+44)/2 = 41.

สมการ ฐานนิยม - NATTAPONG SUPASOOK

การ หาความ กว้าง อันตรภาค ชั้น ภาษาอังกฤษ

จุดกึ่งกลาง (Mid point) จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นใด คือ ค่าเฉลี่ยของช่วงคะแนนในอันตรภาคชั้นนั้นๆ จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นใด = (ขอบบน + ขอบล่าง) / 2 (ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ) 5. ความถี่ (Frequency) ความถี่ของอันตรภาคชั้นใด หมายถึง จานวนข้อมูล (ค่าจากการสังเกต) ที่ ปรากฏอยู่ในช่วงคะแนนหรืออันตรภาคชั้นนี้ อ้างอิง คำถาม 1. อันตรภาคจะมีชั้นเท่าๆกันหรือไม่ 2. ขอบเขตล่าง คืออะไร จัดทำโดย... นางสาวสิรัจฉรา พรวุฒิกูล ชั้น ปวช 2/2 เลขที่ 16 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

สถิติ ม.3 Part 6/12 - การหาจำนวนอันตรภาคชั้น ความกว้าง และค่าเฉลี่ยจากตาราง - YouTube

การสร้างตารางแจกแจงความถี่ ควรทำเป็นขั้นตอนดังนี้ 1. หาพิสัย (Range) โดย พิสัย = ค่าสูงสุด – ค่าต่ำสุด 2. ถ้าโจทย์กำหนดจำนวนอันตรภาคชั้นมาให้ เราต้องคำนวณหาความกว้างของแต่ละ อันตรภาคชั้น โดยใช้หลักเกณฑ์ดังนี้ ถ้า I เป็นทศนิยม ให้ปัดขึ้นเป็นจำนวนเต็มเสมอ ถ้าโจทย์กำหนดความกว้างของอันตรภาคชั้นมาให้ เราสามารถหาจำนวนของอันตรภาคชั้น โดยใช้หลักเกณฑ์ได้ดังนี้ ถ้าโจทย์กำหนดจุดกึ่งกลางมาให้ เราสามารถหาความกว้างของอันตรภาคชั้นได้ดังนี้ ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ผลต่างของจุดกึ่งกลางของชั้นที่อยู่ติดกัน 3. เขียนอันตรภาคชั้นเรียงตามลำดับ แล้วดูว่าค่าจากการสังเกตแต่ละค่าของข้อมูลอยู่ในอันตรภาคชั้นใด ก็ให้ขีด " | " ลงในอันตรภาคชั้นไปเรื่อยๆ จนครบทุกค่าจากการสังเกตของข้อมูล 4. นับจำนวนขีดในแต่ละอันตรภาคชั้นและสรุปออกมาเป็นจำนวน ซึ่งจำนวนดังกล่าวคือความถี่ (f) ตัวอย่าง จากข้อมูลต่อไปนี้ จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ โดยให้มีอันตรภาคชั้นจำนวน 8 ชั้น 74 68 73 62 78 65 98 75 83 69 76 64 75 70 91 86 78 58 54 65 80 85 80 94 56 68 66 77 53 86 1. หาพิสัย = ค่ามากที่สุด – ค่าน้อยที่สุด = 98-53 = 45 2. หาความกว้างของอันตรภาคชั้น หรือจำนวนชั้น จากสูตร 3.

5$ $\frac{55+56}{2}=55. 5$ $4$ $45. 5$ $50. 5$ $3$ $40. 5$ $35. 5$ $1$ $30. 5$ ความกว้าง $I$ จุดกึ่งกลาง $x_i$ $F_i$ $55. 5-50. 5=5$ $\frac{55. 5+50. 5}{2}=53$ $48$ $5+13=18$ $43$ $28$ $38$ $33$ คำคล้าย: ตารางแจกแจงความถี่ frequency table

การใช้โปรแกรมSPSS: การแจกแจงความถี่ของข้อมูล

การสร้างตารางแจกแจงความถี่ ควรทำเป็นขั้นตอนดังนี้ 1. หาพิสัย (Range) โดย พิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่ำสุด 2.

05 11. 8 - 0. 75 13. 3 14. 3 + 0. 05 = 14. 35 13. 1 - 0. 05 14. 6 15. 6 + 0. 05 = 15. 65 14. 4 - 0. 35 15. 9 15. 9 + 0. 95 15. 7 - 0. 65 ข้อสังเกต ขอบล่างของแต่ละอันตรภาคชั้นเท่ากับขอบบนของอันตรภาคชั้นที่อยู่ติดกันเป็นช่วงคะแนนน้อยกว่า 3. ความกว้างของอันตรภาคชั้น (Class Interval) คือ ผลต่างของขอบบนและขอบล่างของอันตรภาคชั้นนั้น นิยมเขียนแทนด้วย I เช่น อันตรภาคชั้น 41 - 50 มีความกว้าง = 40. 5 - 50. 5 = 10 อันตรภาคชั้น 51 - 60 มีความกว้าง = 50. 5 - 60. 5 = 10 เป็นต้น 1. ความกว้างของอันตรภาคชั้นแต่ละชั้นไม่จาเป็นต้องเท่ากันทุกชั้น แต่ถ้าความกว้างเท่ากันทุกชั้นจะทาให้สะดวกในการวิเคราะห์ 2. ในกรณีที่มีข้อมูลบางข้อมูลมีค่าน้อยกว่าข้อมูลอื่นๆมาก หรือมีค่ามากกว่าข้อมูลอื่นๆมาก หรือมีทั้งค่าน้อยกว่าและมากกว่าข้อมูลอื่นๆมากๆ จะใช้อันตรภาคชั้นที่เรียกว่า อันตรภาคชั้นเปิด (Open end class interval) วิธีหาความกว้างของอันตรภาคชั้นข้างต้นใช้ได้ โดยไม่จากัดว่าความกว้างของอันตรภาคชั้นจะเท่ากันหรือไม่ ตัวอย่างที่ 3 ตารางแจกแจงความถี่ที่ความกว้างของอันตรภาคชั้นไม่เท่ากัน 31 - 40 8 41 - 60 6 61 - 90 9 91 - 100 10 ตัวอย่างที่ 4 ตารางแจกแจงความถี่ที่มีอันตรภาคชั้นเป็นอันตรภาคชั้นเปิด น้อยกว่า 30 40 30 - 39 18 40 - 49 22 50 - 59 13 มากกว่า 59 7 4.

Pantip

  1. ลูก ถ่าย แข็ง เป็น เลือด
  2. I m meme eyeshadow รีวิว pink
  3. การ หาความ กว้าง อันตรภาค ชั้น pantip
  4. อัตราค่าบริการ: ลักขณาวดี รับทำบัญชี
  5. การใช้โปรแกรมSPSS: การแจกแจงความถี่ของข้อมูล
  6. 300 rise of an empire ภาค ไทย ตอนที่ 1
  7. สมการ ฐานนิยม - NATTAPONG SUPASOOK
  8. ราคา รองเท้า ผ้าใบ ไน กี้
การ หาความ กว้าง อันตรภาค ชั้น ออนไลน์