ทักษะ การ คิด สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม

โปงลาง-สะ-ออ-น-วง-แตก

การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (action learning) เน้นการทำกิจกรรมภาคปฏิบัติ โดยมีประเด็นสำคัญที่เชื่อมโยงกับการปฏิบัติและการนำไปใช้ กระตุ้นให้ฝึกคิดและนำเสนอ นำสิ่งที่เรียนไปทดลองใช้ กรณีศึกษาและกิจกรรมกลุ่มเพื่อหา solutions แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในกลุ่มระดมสมอง 4. การประเมินผลการอบรมจะใช้หลายรูปแบบวิธี เช่น ผ่านการนำเสนอผลงานกิจกรรมกลุ่ม ผ่านการนำไปถ่ายทอดต่อ ผ่านแบบประเมินก่อนและหลังการอบรม ผ่านงานเพื่อนำไปฝึกฝนเพิ่มเติมในหัวข้อหรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับภารกิจงานของผู้เรียน 5. รูปแบบของการฝึกอบรมมีหลากหลายที่สอดคล้องกับเนื้อหาและกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม อาทิ การบรรยาย การอภิปราย การระดมสมอง (brainstorming) กลุ่มปฏิบัติการ (workshop) กรณีศึกษา (case study) การนำเสนอผลงาน (presentation) เกมทางการบริหาร (Management games)แสดงบทบาทสมมติ (Role playing) หรือแบบประเมินตนเอง (self-assessment test) เช่น personality test, leadership styles, thinking styles เพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดความสนุกสนาน และสามารถเข้าใจด้วยตัวเองอย่างแท้จริง 6. วิทยากรทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการสอนแนะแบบกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนรู้สามารถพัฒนาประยุกต์เทคนิคและเครื่องมือได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการของตนเอง และนำไปสู่การใช้ปฏิบัติงานจนเกิดความชำนาญ 7.

ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม – MCSC

1) ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ( Creatively and Innovation) ประกอบด้วย 1. 1) การคิดสร้างสรรค์ ( Think Creativity) โดย (1) ใช้เทคนิคของการสร้างสรรค์ทางความคิดที่เปิดกว้าง เช่น การระดมสมอง (2) สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่และเสริมสร้างคุณค่าทางความคิดและสติปัญญา และ (3) มีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์และประเมินแนวความคิด เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนางานในเชิงสร้างสรรค์ 1. 2) การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ( Work Creativity with Others) โดย (1) มุ่งพัฒนา เน้นปฏิบัติและสื่อสารแนวคิดใหม่ๆไปสู่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เปิดใจกว้างและยอมรับในมุมมองหรือโลกทัศน์ใหม่ๆที่ส่งผลต่อระบบการทำงาน (3) เป็นผู้นำในการสร้างสรรค์งาน รวมทั้งมีความรู้และเข้าใจในสภาพการณ์ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อจำกัด โดยพร้อมที่จะยอมรับความคิดหรือสภาพการณ์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นนั้นได้ (4) สามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อการเรียนรู้ และเข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ต้องใช้เวลาและสามารถนำเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง 1. 3) การนำเอานวัตกรรมมาสู่การปฏิบัติ ( Implement Innovations) โดยปฏิบัติเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดคุณประโยชน์ต่อการปรับใช้และพัฒนาจากผลแห่งนวัตกรรมที่นำมาใช้ 2) การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา ( Critical Thinking and Problem Solving) ประกอบด้วย 2.

หลักสูตร ความคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)

ศศิมา สุขสว่าง (เก๋) วิทยากร ที่ปรึกษา โค้ช ด้านการพัฒนานวัตกรรมและพัฒนาองค์กร E-mail: Website: line ID: Facebook: Tel. : 081-560-9994 (โทรกลับเฉพาะเบอร์มือถือนะคะ)

1. เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความสร้างความคิดใหม่ เป็นเครื่องมือในการสร้างความสามารถทางการแข่งขันขององค์กร 2. ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคิดของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อการเกิดความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ 3. ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการคิด สิ่งที่ทำให้ความคิดตีบตัน 4. ปัจจัยทางกายภาพ สถาพแวดล้อมที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ 5. การสร้างไอเดียใหม่ผ่านเทคนิคการคิดเชิงสังเคราะห์ (synthesis-typed thinking) การคิดเชิงสร้างสรรค์ (creative thinking) การคิดเชิงประยุกต์ (applicative thinking) และการคิดแนวข้าง (lateral thinking) 6. เทคนิคการผลิต idea ใหม่ ๆ ซึ่งปรับตามโจทย์และสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการสร้าง 100 ไอเดียใหม่ภายในเวลา 10 นาที หลักสูตรนี้เรียนอะไรบ้าง? Module 1 สมองและแบบแผนการคิดของมนุษย์ เข้าใจการทำงานของสมอง เข้าใจกระบวนการคิดลักษณะต่าง ๆ การตอบสนองของสมองต่อสิ่งเร้าและข้อมูลต่าง ๆ กระบวนการเกิดความคิดใหม่ Module 2 การพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ การเปลี่ยนจาก data สู่ information และ intelligence อะไรทำให้เราคิดไม่ออก?

1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม - STEM

ทักษะ การ คิด สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม ล่าสุด

โดย ดร. อนุชา โสมาบุตร ทักษะด้านนี้จุดเน้นอยู่บนพื้นฐานแห่งการสร้างสรรค์ การคิดแบบมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในการทำงาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1) ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creatively and Innovation) ประกอบด้วย 1. 1) การคิดสร้างสรรค์ (Think Creativity) โดย (1) ใช้เทคนิคของการสร้างสรรค์ทางความคิดที่เปิดกว้าง เช่น การระดมสมอง (2) สร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่และเสริมสร้างคุณค่าทางความคิดและสติปัญญา และ (3) มีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์และประเมินแนวความคิด เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนางานในเชิงสร้างสรรค์ 1. 2) การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ (Work Creativity with Others) โดย (1) มุ่งพัฒนา เน้นปฏิบัติและสื่อสารแนวคิดใหม่ๆไปสู่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เปิดใจกว้างและยอมรับในมุมมองหรือโลกทัศน์ใหม่ๆที่ส่งผลต่อระบบการทำงาน (3) เป็นผู้นำในการสร้างสรรค์งาน รวมทั้งมีความรู้และเข้าใจในสภาพการณ์ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อจำกัด โดยพร้อมที่จะยอมรับความคิดหรือสภาพการณ์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นนั้นได้ (4) สามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อการเรียนรู้ และเข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ต้องใช้เวลาและสามารถนำเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง 1.

การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม | Creativity and Innovation – TDGA

คำอธิบายรายวิชา การคิดแบบสร้างสรรค์ การคิดแบบแก้ปัญหา ความหมายและความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม กระบวนการคิดสร้างสรรค์และเทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ กลยุทธ์การใช้การคิด เชิงออกแบบ (Design Thinking) เพื่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรม โดยเรียนรู้ทฤษฎี แนวคิดและตัวอย่างการพัฒนาผลงานนวัตกรรม การจดทรัพย์สินทางปัญญาและแนวทาง การพัฒนานวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ รายนามผู้สอน อาจารย์ ดร. พัทธนันท์ บุตรฉุย อาจารย์ประจำสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร. เนาวนิตย์ สงคราม อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร. สมัครสมร ภักดีเทวา รองศาสตราจารย์ประจำสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ทักษะ การ คิด สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม ออนไลน์

3 ขั้นตอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)

(2560, 20 ตุลาคม). นักเรียนยุคใหม่…กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่21. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2561, จาก ทความ/นักเรียนยุคใหม่_กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ บำรุง เฉียบแหลม. (2557, 13 ตุลาคม). การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2561, จาก วีรพงษ์ ศรัทธาผล. (2561, 23 กรกฎาคม). "การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21". สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2561, จาก หัวเรื่อง และคำสำคัญ การสอน, วิทย์, สร้างสรรค์, ศตวรรษที่ 21 ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท. บทความ รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท. สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล ลิขสิทธิ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. ) วันที่เสร็จ วันเสาร์, 08 ธันวาคม 2561 วรางรัตน์ เสนาสิงห์ สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา วิทยาศาสตร์ทั่วไป ระดับชั้น ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 ม. 5 ม. 6 ช่วงชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มเป้าหมาย ครู นักเรียน บุคคลทั่วไป ดูเพิ่มเติม เพิ่มในรายการโปรด คุณอาจจะสนใจ Hits (24098) Arctic Tale ชีวิตหมีขาว... กับบ้านที่กำลังละลาย ห่างไกลจากดินแดนที่มนุษย์ทั้งหลายอาศัยอยู่ ไปยังด้า... Hits (42864) ฉลากอาหารบนภาชนะบรรจุอาหาร สุนทร ตรีนันทวัน ในปัจจุบันนี้ถ้าเราซื้ออาหารสำเร็จตามห้างสรรพสินค้าหรือ...

: 081-560-9994 (โทรกลับเฉพาะเบอร์มือถือนะคะ)

ออนไลน์

  1. โหลด วิดีโอ ยู ทู ป ลง โทรศัพท์
  2. 11 การพูดเกี่ยวกับสิ่งที่ "แน่ใจ" และ "ไม่แน่ใจ" ในภาษาอังกฤษ - ศูนย์การแปลนานาชาติ ทีไอเอส ทรานสเลชั่น 027309933
  3. โหลด เกม โปเก ม่อน pc.org
  4. Mido ocean star มือ สอง pictures
  5. ซื้อ ป๊ อป คอร์น major lazada
  6. ปวดหัวหนักมาก ทําไงดี
  7. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม - GotoKnow
  8. การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม | Creativity and Innovation | Thai MOOC:LMS
  9. 3 ขั้นตอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)
  10. เอ ล ซ่า 2 hd video
  11. ดูซีรี่ย์ Ode to Gallantry (2017) มังกรทลายฟ้า ตอนที่ 1-32 พากย์ไทย ดูซีรี่ย์ออนไลน์ ซีรี่ย์จีน ซีรี่ย์เกาฟรี @go-series.com
  12. เหรียญ หลวง พ่อ รวย 97 ล่าสุด
  1. ตู้ เชื่อม หลุด จํา นํา
  2. พระเนื้อผงหลวงพ่อโต
  3. Heart rate zone intensive คือ reviews
  4. อกไก่ ทํา อะไร กิน ดี
  5. One dime เท่ากับ กี่ บาท ไทย voathai